Page 89 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 89
�
�
ปัจจุบันมีการผลิตและจาหน่ายอุปกรณ์ยึดจับแผงโดยไม่จาเป็นต้องเจาะหลังคา ใช้ชุดบีบยึดสันหลังคา ทาให้
�
ี
่
ิ
่
ึ
ั
ั
ึ
ไมมการรวซมจากการเจาะ ซ่งมีท้งแบบ Metal Sheet และใช้ข้องอในการสอดล็อคใต้หลังคากระเบื้อง โดยการตดตง ้ ั
แผงเซลล์แสงอาทิตย์ด�าเนินการดังนี้
หลังคาเมทัลชีท หลังคาแบบกระเบ้อง
ื
- เตรียมโครงสร้างยึดจับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งวัสดุที่ใช้ควรเป็นโลหะกันสนิมสามารถรับน�้าหนักและสามารถ
ต้านทานแรงลมประทะได้ดี ในกรณีการติดตั้งบนหลังคาควรว่าจ้างผู้รับเหมาที่มีความช�านาญติดตั้ง
่
- ตรวจสอบสภาพภายนอก วดคาแรงดนไฟฟาวงจรเปด (Voc) และค่ากระแสไฟฟ้าลัดวงจร (Isc) ของแผงเซลล์
ั
ิ
้
ั
แสงอาทิตย์ทุกแผงก่อนที่จะวางและยึดบนโครงสร้าง
่
้
่
- ติดตั้งตามคูมือโดยใชหัวตอชนิดที่เข้ากับแผงเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อลดการสูญเสียและความรวดเร็วในการติดตั้ง
- ติดตั้งตู้รวมสายไฟกระแสตรง เครื่องแปลงผันไฟฟ้า และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องตามคู่มือและค�าแนะน�าผู้ผลิต
ี
ู
ี
ี
ื
- เช่อมต่อระบบด้วยสายไฟจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์มาท่ต้รวมสายไฟกระแสตรงทละวงจรตามทออกแบบ
่
ควรเชื่อมต่อไฟฟ้าที่ตู้รวมสายไฟกระแสตรงก่อนเชื่อมที่ชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์
ี
ื
- เช่อมต่อระบบด้วยสายไฟจากตู้รวมสายไฟกระแสตรงมาท่เคร่องแปลงกระแส ตามท่ออกแบบและคู่มือ
ื
ี
การติดตั้งเครื่องแปลงกระแส
ี
ิ
ื
- เช่อมต่อระบบด้วยสายไฟจากเคร่องแปลงกระแสมาท่เบรกเกอร์กระแสสลับตามท่ออกแบบ และเปดระบบ
ี
ื
โดยการปิดวงจรของระบบทีละชุดจนครบทุกเบรกเกอร์
- ตรวจสอบระบบและค่าทางไฟฟ้าทุกค่าว่าเป็นไปตามคู่มือของผู้ผลิต
การบ�ารุงรักษาโซลารูฟท็อป
1. ตรวจสอบหลังคาว่าไม่มีจุดรั่วซึม และระบบระบายน�้าบนหลังคาว่าไม่มีสิ่งใดขวางทางน�้า
2. เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดควรท�าความสะอาดแผงด้วยน�้าสะอาดทุก 6 เดือน
้
ี
3. ตรวจสอบแผงไมใหมรอยแตกหรือมีร่องรอยนาซึมเข้าด้านในแผง และการบังเงาบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์
่
�
้
ทุก 6 เดือน
�
้
4. ถ้ามีคราบสกปกให้ใช้ฟองนาทาความสะอาดด้วยนาเปล่า ไม่ควรใช้แปลงโลหะหรือสารเคมีในการทาความสะอาด
�
�
�
้
5. ตรวจสอบความแข็งแรงของโครงสร้างรองรับแผงรวมถึงการกัดกร่อนและสนิมจุดต่อสายไฟฟ้า สภาพฉนวน
ทุก 6 เดือนโดยเฉพาะก่อนฤดูมรสุม
วารสาร 87 DSI