Page 93 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 93
แนวโน้มชีวิตยุค New Normal
�
ั
ี
ความเปล่ยนแปลงในพฤติกรรมการใช้ชีวิตของผู้คนน้น ได้มีการสารวจโดยสานักวิจัยซูเปอร์โพล (SUPER POLL)
�
ุ
ุ
ั
ิ
ั
็
ึ
�
ื
้
ู
�
สถาบนวจยความสขชมชนและความเปนผนา ซ่งได้เปิดผลสารวจภาคสนาม เร่อง จริตใหม่ประชาชนหลังพ้นโควิด-19
กรณีศึกษาประชาชนทุกสาขาอาชีพทั่วประเทศ จ�านวน 1,255 ตัวอย่าง ซึ่งผลสรุปบางส่วนออกมา ดังนี้
• ร้อยละ 86.2 ระบุ สั่งสินค้าเดลิเวอรี่มากขึ้น
• ร้อยละ 83.7 พูดคุย ติดโลกโซเชียลมากขึ้น
• ร้อยละ 81.5 ใช้เทคโนโลยีสื่อสาร โซเชียลมีเดียมากขึ้น
• ร้อยละ 79.8 คุ้นเคยลงทะเบียนผ่านแอปพลิเคชันต่าง ๆ
• ร้อยละ 79.1 ดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น
• ร้อยละ 64.2 ดูแลสุขภาพส่วนรวมมากขึ้น
• ร้อยละ 62.6 ศึกษาเล่าเรียนออนไลน์มากขึ้น
• ร้อยละ 60.6 แต่งกายใช้หน้ากากอนามัยเป็นแฟชั่น ดูดีมีสไตล์มากขึ้น
• ร้อยละ 56.6 คบหาพบปะผู้คนเฉพาะกลุ่มมากขึ้น
• ร้อยละ 55.2 ท�างานจากที่บ้าน (Work from Home) มากขึ้น
ี
ี
ั
ิ
อกทง ผศ.ดร.จนทน เจรญศร คณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.)
้
ั
ี
อธิบายให้ฟังว่า 7 New Normal ท่จะได้เห็นคือ
ี
1. New Normal ด้านสุขอนามัย
“ถ้าถามว่าพฤติกรรมอะไรจะเปลยนไปถาวร เร่องของสขภาพน่าจะเป็นเร่องท่คนเกิดความคุ้นเคยแบบใหม่
ี
ุ
ื
ื
ี
่
คนจะหันมาใส่ใจการดูแลสุขอนามัยมากขึ้น มีความตระหนักในเรื่องเชื้อโรค โรคระบาด กันมากขึ้น” ผศ.ดร.จันทนี กล่าว
สอดคล้องกับการวิเคราะห์จากทางฝั่งตะวันตก ท่มองว่าหลังส้นสุดวิกฤต โควิด-19 ประชาชนจะลดการปฏิสัมพันธ์
ี
ิ
ทางกายอย่างการจับมือ หอมแก้ม หรือกอด โดยเฉพาะกับผู้ที่ไม่ได้มีความสนิทสนมกัน รวมถึงผู้คนน่าจะให้ความส�าคัญ
ี
กับพฤติกรรมการล้างมือ ใช้เจลแอลกอฮอล์ รักษาสุขอนามัย โดยเฉพาะท่มือ จนอาจกลายเป็นพฤติกรรมท่คุ้นชินแบบใหม่
ี
วารสาร 91 DSI