Page 46 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 46
การจัดการให้ได้ตัวผู้ต้องหาในคดีพิเศษ ตามพระราชบัญญัติ
ส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ. 2551
พันต�ำรวจโท วิชิต อุปะละ 1
ในปัจจุบันการก่ออาชญากรรมได้มีการพัฒนาและเปล่ยนแปลงรูปแบบการกระทาความผิดไปอย่างมาก
�
ี
�
ิ
�
ั
ตามวิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้การกระทาความผดอาญามีความซบซ้อน และไม่ได้จากดอย่ ู
ั
�
แค่เพียงในเขตแดนของรัฐหนึ่งรัฐใดเท่านั้น เป็นเหตุให้ยากแก่การน�าตัวผู้กระท�าความผิดมาลงโทษตามกฎหมาย ดังนั้น
การสืบสวนสอบสวนการกระท�าความผิดทางอาญาที่เป็นคดีพิเศษ ตามพระราชบัญญัติการสอบสวน คดีพิเศษ พ.ศ. 2547
ี
�
ี
ิ
�
ี
และท่แก้ไขเพ่มเติม โดยเฉพาะความผิดทางอาญาท่มีลักษณะเป็นการกระทาความผิดข้ามชาติท่สาคัญ หรือเป็น
�
ั
�
�
การกระทาขององค์กรอาชญากรรม ผู้กระทาความผิดส่วนมากจะกระทาความผิดนอกราชอาณาจักรไม่ว่าท้งหมดหรือ
�
ี
ึ
แม้แต่ส่วนหน่งส่วนใดก็ตาม โดยอาจเป็นตัวการผู้ลงมือกระทาความผิด ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุน หรือในกรณีท่ผู้กระทาความผิด
�
ได้กระท�าความผิดในราชอาณาจักรแต่ได้หลบหนีอยู่ในต่างประเทศ หรือผู้กระท�าความผิดเป็นคนต่างด้าวและมีภูมิล�าเนา
ื
อยู่ในต่างประเทศน้น เม่อพนักงานสอบสวนคดีพิเศษทาการสอบสวนเสร็จส้นแล้ว หากพนกงานอยการมความเหน
�
ิ
็
ั
ี
ั
ั
ควรสั่งฟ้องผู้ต้องหา พนักงานอัยการก็จะสั่งให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษจัดการให้ได้ตัวผู้ต้องหาที่หลบหนีนั้นมาฟ้องคดี
็
ี
�
ิ
ภายในกาหนดอายุความ โดยพนกงานสอบสวนคดพเศษกจะต้องดาเนนการขอตัวผู้ต้องหารายน้นเป็นผู้ร้ายข้ามแดน
�
ิ
ั
ั
�
�
โดยการจัดทาคาร้องขอพร้อมเอกสารท่เก่ยวข้องส่งไปยังสานักอัยการสูงสุด
ี
ี
�
้
้
่
แนวความคิดในการสงผูรายขามแดน เริ่มปรากฏให้เห็นตั้งแต่ก่อนคริสตศักราช ในสนธิสัญญาสันติภาพระหว่าง
้
ฟาโรห์รามเสสท่ 2 แห่งอียิปต์ และกษัตริย์ฮัททูซิลีท่ 3 แห่งฮิทไทท์ เรียกว่า “สนธิสัญญาระหว่างอียิปต์ กับฮิทไทท์”
ี
ี
โดยระบุถึงการส่งตัวศัตรูทางการเมืองที่หลบหนีไปอยู่ในประเทศหนึ่งให้แก่อีกประเทศหนึ่ง ซึ่งในยุคนั้นกษัตริย์ผู้ปกครอง
แผ่นดินต่างก็ใช้วิธีการส่งตัวผู้กระท�าความผิดทางการเมืองระหว่างกัน เพื่อช่วยกันขจัดผู้ที่จะโค่นล้มเหล่ากษัตริย์ด้วยกัน
้
การส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนในสมัยช่วงก่อนศตวรรษที่ 18 ถือเป็นเอกสิทธิ์ของประเทศที่ไดรับการรองขอวาจะสงตัว
่
้
่
ึ
ื
ี
่
�
�
ผู้กระทาความผิดไปยังประเทศท่ร้องขอหรอไม และยังไม่มีการกาหนดฐานความผิดในการส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนมากข้น
ึ
ี
ต่อมาในช่วงศตวรรษท่ 18 - 19 ประเทศต่าง ๆ ได้ให้ความสาคัญกับความร่วมมือในการส่งผู้ร้ายข้ามแดนมากข้น
�
ิ
ี
�
ั
ั
ั
มีการทาสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนระหว่างกันมากข้น และเรมมการบญญตกฎหมายภายในเพอกาหนดหลกเกณฑ์
ิ
่
�
ึ
ื
่
ิ
ึ
ในการส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้ชัดเจนมากย่งข้นด้วย
1 ผู้เชี่ยวชำญเฉพำะด้ำนคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ
วารสาร 44 DSI