Page 48 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 48
ั
�
กรณีประเทศไทยร้องขอไปยังรัฐต่างประเทศให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน การส่งคาร้องขอไปยงรฐต่างประเทศ
ั
ั
ั
้
�
ื
เพอใหสงตวผู้ร้ายข้ามแดนจากประเทศน้นมายังประเทศไทย หากประเทศไทยและประเทศผู้รับคาร้องขอมีสนธิสัญญา
่
่
ั
ี
�
�
ั
ส่งผู้ร้ายข้ามแดนระหว่างกัน ให้ผู้ประสานงานการดาเนินการตามข้นตอนท่กาหนดไว้ในสนธิสัญญา แต่หากไม่มสนธสญญา
ี
ิ
ี
ิ
ี
่
ู
่
ั
้
ระหวางกนใหสงคารองขอผานวถทางการทตโดยความผิดท่ขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดนต้องเป็นความผิดทางอาญาท้งตามกฎหมาย
ั
่
�
้
ของประเทศไทยและกฎหมายของผู้ประเทศผู้รับค�าร้องขอ
ี
ิ
การร้องขอให้รัฐต่างประเทศส่วนตัวผู้ร้ายข้ามแดนให้กับประเทศไทยในความผิดต้องระวางโทษประหารชวต
้
ั
ตามกฎหมายไทยแต่ไม่ถึงโทษประหารชีวิตตามกฎหมายของประเทศผู้รับคาร้องขอหรอประเทศนนได้ยกเลกโทษ
ิ
ื
�
็
�
ิ
�
ี
ี
ี
ประหารชวตไปแล้ว หากมีความจาเป็นท่รัฐบาลไทยจะต้องให้คารับรองว่าจะไม่มีการประหารชีวิตท่ถูกส่วนตัว กให้
ื
�
ึ
มีการเจรจาตกลงเพ่อให้มีการรับรองดังกล่าวได้ ซ่งหากศาลไทยพิพากษาลงโทษประหารชีวิตให้รัฐบาลดาเนินการ
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเพื่อให้มีการบังคับตามค�าพิพากษาโดยวิธีจ�าคุกตลอดชีวิตแหงการประหารชีวิต โดยหามไมให ้
้
่
่
มีการลดหย่อนผ่อนโทษให้แก่บุคคลนั้นไม่ว่ากรณีใด ๆ เว้นแต่เป็นการพระราชทานอภัยโทษ
ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการให้ได้ตัวผู้ต้องหาในคดีพิเศษตามพระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ. 2551
1. ปัญหาข้อกฎหมายการส่งผู้ร้ายข้ามแดนในประเด็นความผิดสองรัฐ
ี
ึ
ี
�
การส่งผู้ร้ายข้ามแดนมีหลักเกณฑ์ท่สาคัญประการหน่ง คือ ต้องเป็นความผิดท่สามารถลงโทษได้
ตามกฎหมายของประเทศผู้ร้องขอ และประเทศผู้รับค�าร้องขอ คือ ต้องเป็นความผิดตามกฎหมายภายในทั้งของประเทศ
ผู้ร้องขอและประเทศผูรับค�ารองขอ ไม่ว่าจะเรียกชื่อฐานความผิดเหมือนกันหรือไม่ก็ตาม ส�าหรับการขอส่งผู้ร้ายข้ามแดน
้
้
ในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ในทางปฏิบัตินั้นสามารถด�าเนินการได้ยาก เนื่องจากความผิดฐานนี้
ื
ี
ไม่ถือเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาของประเทศท่กลุ่มผู้กระทาความผิดปกติหนีไปพานักอยู่หรือไม่ถอว่า
�
�
็
เปนความผดของรฐ และในบางกรณีกับถูกมองว่าเป็นความผิดทางการเมือง ซ่งเป็นข้อยกเว้นในการส่งผู้ร้ายข้ามแดน
ึ
ั
ิ
นอกจากน้บางประเทศยังมีค่านิยมและให้ความสาคัญอย่างย่งต่อประเด็นสิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
ิ
ี
�
ั
ุ
ั
ี
ี
หรือในบางประเทศท่มกฎหมายค้มครองพระมหากษตริย์หรอประมุขของรฐแต่ส่วนใหญ่มกเป็นในลกษณะการคุ้มครอง
ั
ื
ั
การประทุษร้ายต่อร่างกายมากกว่า
2. ปัญหาค�าจ�ากัดความของความผิดทางการเมือง
ความผิดทางการเมืองเป็นข้อยกเว้นประการหน่งในการส่งผู้ร้ายข้ามแดน เพราะถอวาไมเปนอาชญากรรม
ื
็
ึ
่
่
ี
ี
ี
ท่แท้จริง ความผิดทางการเมืองแบ่งออกได้เป็นความผิดทางการเมืองโดยแท้ และความผิดท่มีลักษณะเก่ยวข้องกับ
ความสมพนธกบการเมอง ซ่งแม้จะมีความพยายามให้คาจากัดความของความผิดทางการเมืองเพ่อให้เกิดความชัดเจน
ื
ื
ึ
�
ั
ั
�
ั
์
�
�
ั
ี
ก็ตาม แต่ในทางปฏิบัติแล้วคาจากัดความท่กาหนดไว้ก็ยังไม่สามารถช้ชัดได้ทุกกรณีว่าการกระทาน้น เป็นความผิด
ี
�
�
ู
ื
�
ทางการเมองหรอไม่ อย่างไรก็ตาม แม้การกาหนดให้ความผิดทางการเมืองเป็นข้อยกเว้นในการส่งตวผ้ร้ายข้ามแดน
ื
ั
เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกร้องขอให้ส่งตัวก็ตาม แต่ในทางปฏิบัติแล้วประเทศผู้รับค�าขออาจใช้เป็นช่องทางในการ
่
ให้ที่พักพิงกับผู้กระท�าความผิดให้พ้นจากการด�าเนินคดีและถูกลงโทษในความผิดที่กอขึ้น โดยอาศัยการวินิจฉัยว่าความผิด
ที่ร้องขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดนเป็นความผิดทางการเมืองได้ อาทิ การที่รัฐบาลญี่ปุ่นปฏิเสธไม่ส่งตัว นายอัลแบร์โต้ ฟูจิมูริ
�
อดีตประธานาธิบดีเปรูตามคาร้องขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดนของประเทศเปรู โดยให้เหตุผลว่าหากส่งตัวกลับไปดาเนนคด ี
ิ
�
ี
ิ
ี
ั
่
ในเปรู นายอัลแบร์โต้ ฟูจิมูริ จะไม่ได้รับความเป็นธรรมในการพิจารณาคดี เนองจากมความขดแยงกบรฐบาลทบรหาร
ื
ั
่
้
ั
ประเทศเปรูอยู่ในขณะนั้น
วารสาร 46 DSI