Page 49 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 49
3. ปัญหากระบวนการส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนมีขั้นตอนที่ยุ่งยากและใช้เวลานาน
่
่
โดยเฉพาะในกรณีของการร้องขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศที่ไมมีสนธิสัญญา
ี
้
ั
้
ื
ั
ี
่
์
ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนระหว่างกัน ทงน เนองมาจากระบบกฎหมาย หลักเกณฑ และข้นตอนในการส่งผู้ร้ายข้ามแดนท่แตกต่างกัน
ในแต่ละประเทศการประสานงานในการส่งผู้ร้ายข้ามแดนจึงมักมีปัญหาในทางปฏิบัติ เช่น เอกสารประกอบคาร้องขอ
�
็
้
้
ไมครบถวน ไม่มีการแปลเอกสารเป็นภาษาไทย ไม่มีการรับรองความถูกต้องของเอกสาร เปนตน อีกท้งในการพิจารณา
่
ั
ิ
�
คาร้องขอประเทศผู้รับคาร้องขอจะใช้หลักต่างตอบแทนและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นหลักในการพจารณา
�
�
จึงทาให้การส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนใช้เวลานาน
4. ปัญหาเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ี
ประเดนด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเป็นประเด็นท่ได้รับความสนใจจากประชาคมโลกมากข้น
ึ
็
จึงได้มีความพยายามผลักดันให้ประเทศต่าง ๆ ยกเลิกโทษประหารชีวิตเสีย เพราะเป็นการละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
และสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรง ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่ยังคงมีโทษประหารชีวิตส�าหรับลงโทษผู้กระท�าความผิด
ิ
ั
ในบางฐานความผด เช่น ความผิดฐานฆ่าผู้อ่น ความผิดเก่ยวกับยาเสพติด เน่องจากเห็นว่าโทษประหารชีวิต ยงมความจาเปน
็
�
ื
ี
ื
ี
ในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมอยู ดังนั้น ในกรณีที่ประเทศไทย ร้องขอให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนจากประเทศอื่น
้
่
�
ี
ิ
ี
่
ทยกเลกโทษประหารชวตไปแล้ว หรือในความผิดท่มีโทษไม่ถึงประหารชีวิตในประเทศผู้รับคาร้องขอน้น ประเทศไทย
ิ
ั
ี
อาจถูกปฏิเสธไม่ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนได้ ประเทศไทยจึงมักจะต้องท�าค�ารับรองส่งไปยังประเทศผู้รับผู้รับค�าร้องขอด้วยว่า
�
หากศาลไทยพิพากษาลงโทษประหารชีวิตบุคคลน้น รัฐบาลจะดาเนินการปรับเปล่ยนโทษประหารชีวิตเป็นจาคกตลอดชวตแทน
ี
ี
ั
ิ
ุ
�
ซึ่งถือได้ว่ากระทบกระเทือนต่ออ�านาจอธิปไตยทางศาลของประเทศไทยด้วยเช่นกัน
5. ปัญหาการใช้ดุลพินิจของรัฐบาลในการส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน
การส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนเป็นอ�านาจของรัฐบาลที่จะใช้ดุลพินิจพิจารณาว่า จะส่งตัวผู้กระท�าความผิด
ให้แก่ประเทศผู้ร้องขอหรือไม่ ซึ่งประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายจารีตประเพณี ยึดหลักการว่าจะส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนให้กับ
ประเทศผู้ร้องขอที่ได้ตกลงท�าสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนระหว่างกันไว้ ในขณะที่ประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายลายลักษณ์
ั
ั
ั
่
ั
ึ
อกษรจะยดหลกตางตอบแทนและความสมพนธระหว่างประเทศในการพิจารณาส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน ประกอบกับปัจจัย
์
ต่าง ๆ ที่แต่ละประเทศน�ามาใช้ในการพิจารณาส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนแตกต่างกัน เช่น ระบบกฎหมาย มาตรฐานการพิสูจน์
และหลักสิทธิมนุษยชน ซึ่งแม้ในบางประเทศจะให้ฝ่ายตุลาการเข้ามามีบทบาทในการพิสูจน์ว่า ถูกร้องขอให้ส่งตัวผู้ร้าย
ข้ามแดนได้กระท�าความผิดจริงตามค�าร้องขอหรือไม่ เพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกร้องขอให้ส่งตัวก็ตาม แต่ก็ไม่มีผลผูกมัด
ให้ฝ่ายบริหารจะต้องดาเนินการตามคาวินิจฉัยของศาลแต่อย่างใด อานาจการตดสนชขาดว่าจะส่งตวผ้ร้ายข้ามแดน
ู
้
ิ
ี
�
�
�
ั
ั
ให้กับประเทศผู้ร้องขอหรือไม่ ยังเป็นอ�านาจเด็ดขาดของฝ่ายบริหารอยู่ การส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนจึงขึ้นอยู่กับการตัดสินใจ
ของฝ่ายบริหารท�าให้แม้ประเทศที่มีสนธิสัญญาระหว่างกันก็อาจไม่ได้รับการส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กันทุกกรณี
วารสาร 47 DSI