Page 76 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 76

�
                           ั
                      รวมท้ง การนาโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต ซึ่งเป็นการประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                                                        ่
                                                        ื
                                                  ื
                                                                                                ึ
                                                                                                     ื
                                                                          ี
                                                                  ิ
                                                                    ิ
               มาใช้ประกอบกับหลักการต่อต้านการทุจริตอ่น ๆ เพอสร้างฐานคดจตพอเพยงต่อต้านการทุจริตให้เกิดข้นเป็นพ้นฐาน
                                         ุ
                                            ์
                                              ้
                                                                             ื
               ความคิดของปัจเจกบุคคล มาประยกตใชในการแก้ไขปัญหาการทุจริตอย่างย่งยืน เพ่อให้บุคลากรของกรมสอบสวนคดีพิเศษ
                                                                       ั
               สามารถปรับฐานความคิดการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวมได้ และร่วมกันสร้างค่านิยมการต่อต้าน
               การทุจริต ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมในการ “ไม่ยอม ไม่ทน ไม่เฉยต่อการทุจริต” ขึ้นในกรมสอบสวนคดีพิเศษ














                      การแก้ปัญหาการทุจริตอย่างยั่งยืนต้องเริ่มต้นแก้ไขที่ตัวบุคคล โดยการปรับฐานความคิดของบุคคลให้สามารถ
                                                                                 ึ
                             ื
                                                                                   �
               แยกแยะได้ว่า “เร่องใดเป็นประโยชน์ส่วนตน และเร่องใดเป็นประโยชน์ส่วนรวม” ซ่งนาวิธีคิดแบบฐานสิบ (Analog
                                                        ื
               thinking) / ฐานสอง (Digital thinking) มาใช้เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของรัฐน�าไปเป็น “หลักคิด” ในการปฏิบัติงานให้สามารถ
                                                                        ้
                                                                                                       ิ
                                                                                               ี
                                                                      ั
                                                                                                    ิ
               แยกผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมได้อย่างเด็ดขาด ทงน หากบุคลากรในหน่วยงานมการปฏบตงาน
                                                                      ้
                                                                        ี
                                                                                                     ั
               แบบใช้ระบบคิดฐานสอง (Digital thinking) แล้ว จะส่งผลให้ปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบของหน่วยงานลดลง
                                    ั
               และหมดไปในอนาคต รวมท้งก่อให้เกิดวัฒนธรรมภายในหน่วยงานในการท่จะ  ไม่ยอม ไม่ทน ไม่เฉยต่อการทุจริตทุกรูปแบบ
                                                                      ี




























                                                 วารสาร 74       DSI
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81