Page 71 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 71
ี
่
�
ี
ื
ี
3. ในการใช้วิธีปฏิบัติในการถามปากคา การสืบพยาน และการช้ตัวผู้ต้องหาของผู้เสยหายหรอพยานทเป็น
ิ
ิ
ี
ี
ั
็
้
ี
เดกอายไมเกินสบแปดป รวมถึงการสอบสวนผู้ต้องหาท่เป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี ตองมนกจตวทยาหรอนกสงคมสงเคราะห ์
ิ
่
ั
ื
ุ
ั
ุ
ี
ิ
ั
บุคคลท่เด็กร้องขอ และพนักงานอัยการอยู่ร่วมด้วย โดยม่งหมายมให้เดกได้รบผลกระทบ ทั้งทางร่างกายและสภาวะ
็
ื
�
ทางจตใจจากกระบวนการยตธรรม เพ่อมิให้การดาเนินคดีเป็นไปด้วยความล่าช้าโดยไม่จาเป็น การถามปากคาไม่ควรม ี
ิ
ุ
ิ
�
�
ี
�
่
ั
้
้
ความซาซอนในแตละขนตอน ทาให้ผู้เสียหายหรือพยานท่เป็นเด็กได้รับผลกระทบจากกระบวนการยุติธรรมเกินสมควร
�
้
เพื่อให้การใช้บังคับกฎหมายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ี
ี
ี
�
ิ
4. การท่เจ้าพนักงานใช้อานาจยึดส่งของต่าง ๆ ท่อาจใช้เป็นพยานหลักฐานได้จนกว่าคดีถึงท่สุด บางกรณ ี
ิ
่
์
ื
ื
ิ
�
�
ั
่
อาจต้องยึดส่งของดังกล่าวไว้เป็นเวลานาน ทาให้ส่งของน้นชารุดบกพร่อง เสอมประโยชน หรอเสอมราคา ก่อความเสียหาย
ื
ุ
ิ
ิ
ื
ึ
ิ
ั
�
้
้
้
แก่ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา จาเลย หรือผู้อ่น ซ่งมีสิทธิเรียกร้องขอคืนส่งของน้น เจาพนกงานควรใชอานาจและใชดลยพนจ
ั
�
�
่
ั
้
่
ุ
ิ
็
่
ั
ผอนผนใหบคคลดงกลาว รับส่งของดังกล่าวไปดูแลรักษาหรือใช้ประโยชน์ระหว่างการดาเนินคดีอาญา เพอเปนการบรรเทา
ื
ื
่
ความเสยหายและเพอค้มครองสทธิของประชาชนผู้สุจริต ตลอดจนลดภาระหน้าท่ของเจ้าพนักงานในการดูแลรักษา
ี
ุ
ิ
ี
สิ่งของนั้น และเพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนมากยิ่งขึ้น
5. การสืบสวนสอบสวนคดีพิเศษควรเอื้อต่อการคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหาหรือจ�าเลย เนื่องจากจ�าเลย อาจไม่มี
้
ื
ทนายความคอยชวยเหลอและไม่สามารถให้การต่อพนักงานสอบสวนคดีพิเศษเพ่อทราบถึงข้อเท็จจริง หรอขอกฎหมาย
ื
ื
่
อันส�าคัญที่พนักงานสอบสวนคดีพิเศษสามารถใช้พิจารณาว่าผู้ต้องหาหรือจ�าเลยกระท�าความผิดตามข้อกล่าวหาหรือไม่
เพื่อพิจารณาสรุปส�านวนคดีพิเศษว่าควรสั่งฟ้องหรือไม่สั่งฟ้อง เพื่อเสนอพนักงานอัยการ มีค�าสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้อง หรือมี
ค�าสั่งใดตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 140 ถึงมาตรา 143 ซึ่งท�าให้เกิดความล่าช้า
ี
ื
�
และส่งผลกระทบต่อหลักการอานวยความยุติธรรมท่รวดเร็วและเป็นธรรม ตลอดจนส่งผลกระทบต่อความเช่อมั่นและ
ความศรัทธาที่มีต่อระบบ
6. การพิจารณาในการปล่อยช่วคราวผู้ต้องหาหรือจาเลย เนื่องจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
�
ั
ี
ั
่
่
้
ั
ี
�
�
กาหนดใหการปลอยชวคราวในคด ท้งท่ผู้ต้องหาหรือจาเลยไม่มีพฤติกรรมจะหลบหนี หรือไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน
้
หรอไปกอเหตอนตรายประการอน สมควรให้โอกาสผู้ต้องหาหรือจาเลยได้รับการปล่อยช่วคราวมากข้น อนจะเปนการคมครอง
ื
่
�
็
ั
ื
ุ
ึ
ั
่
ุ
ั
สิทธิและเสรีภาพของประชาชน ซึ่งสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่บัญญัติว่าในคดีอาญา ให้สันนิษฐาน
ไว้ก่อนว่า ผู้ต้องหาหรือจ�าเลยไม่มีความผิดและการควบคุมหรือคุมขังผู้ต้องหาหรือจ�าเลย ให้กระท�าได้เพียงเท่าที่จ�าเป็น
เพื่อป้องกันมิให้มีการหลบหนี โดยค�าขอประกันผู้ต้องหาหรือจ�าเลยในคดีอาญาต้องได้รับการพิจารณา และจะเรียกหลัก
้
ประกันจนเกินควรแก่กรณีมิได้ ดงนนการปล่อยช่วคราวและการพิจารณาควรจะต้องมีความเหมาะสมกับสภาพสังคม
ั
ั
ั
และสามารถคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม
วารสาร 69 DSI