Page 74 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 74
องค์ความรู้ เรื่อง “การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัว
และผลประโยชน์ส่วนรวม”
กลุ่มบริหำรทรัพยำกรบุคคล 1
เป็นการด�าเนินการภายใต้โครงการการจัดการความรู้ กรมสอบสวนคดีพิเศษ ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์กรมสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2563 - 2565 ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 เรื่อง การบริหาร
จัดการองค์การเพื่อความยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดท�าองค์ความรู้นี้เพื่อปรับเปลี่ยนวิธีคิด
ื
ื
ของบุคลากรกรมสอบสวนคดีพิเศษ เพ่อให้สามารถแยกแยะได้ว่า “เร่องใดเป็นประโยชน์ส่วนตัว และเร่องใดเป็นประโยชน์ส่วนรวม”
ื
ซึ่งการเปลี่ยนแปลงวิธีคิด (Paradigm Shift) ถือว่าเป็นเรื่องส�าคัญอย่างมากต่อการด�าเนินงานด้านการต่อต้านการทุจริต
�
ื
�
หากไม่สามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวออกจากผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ก็จะนาไปสู่การละเมิดสิทธิของผู้อ่น การทาผิด
�
ี
จริยธรรม ความเส่ยงต่อการทาผิดกฎหมายและการทุจริตต่อหน้าท่ ดังน้น การปลูกฝังวิธีการคิดท่สามารถแยกแยะผลประโยชน์
ี
ั
ี
่
้
่
์
่
สวนตัวออกจากผลประโยชนสวนรวมไดอยางชัดเจน ท�าให้ทุกคนมีความตระหนักว่าการกระท�าใดเป็นการกระท�าที่อาจเกิด
การทับซ้อนระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวกับประโยชน์ส่วนรวม
ี
คณะรัฐมนตรีมีมติ เม่อวันท่ 22 พฤษภาคม 2561 เห็นชอบหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education)
ื
ซึ่งหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาดังกล่าวสอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตระยะที่ 3
ั
้
ี
ื
(พ.ศ. 2560 - 2564) ในยุทธศาสตร์ท่ 1 “สรางสงคมไมทนตอการทจรต” อันมีกลยุทธ์ว่าด้วยเร่องของการปรับฐานความคิด
่
ุ
ิ
่
ทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวม ส่งเสริมให้มีระบบ
และกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริต ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือต้านทุจริต
ื
้
ู
ิ
ุ
ึ
เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วนเพ่อต่อต้านการทุจริต หลกสตรตานทจรตศกษา
ั
(Anti - Corruption Education) ประกอบด้วย 5 หลักสูตร ดังนี้
1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. หลักสูตรอุดมศึกษา
3. หลักสูตรกลุ่มทหารและต�ารวจ
4. หลักสูตรวิทยากร ป.ป.ช./บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ (สร้างวิทยากรตัวคูณ)
5. หลักสูตรโค้ช (สร้างโค้ชส�าหรับโครงการต้านทุจริต)
ั
่
ดังนั้น แนวทางการแกปญหาการทุจริตอยางยั่งยืน ต้องเริ่มต้นแก้ไขที่ตัวบุคคล โดยเริ่มจากการปรับเปลี่ยนระบบ
้
การคิดของคนในสังคมแยกแยะให้ได้ว่า…
“เรื่องใดเป็นประโยชน์ส่วนตน...เรื่องใดเป็นประโยชน์ส่วนรวม”
ต้องแยกออกจากกันให้ได้อย่างเด็ดขาด ไม่นามาปะปนกัน ไม่เอาประโยชน์ส่วนรวมมาเป็นประโยชน์ส่วนตน
�
ไม่เอาผลประโยชน์ส่วนรวมมาทดแทนบุญคุณส่วนตน ไมเหนแกประโยชนส่วนตนและพวกพ้องเหนือกว่าประโยชน์ส่วนรวม
่
็
์
่
กรณีเกิดผลประโยชน์ขัดกันต้องยึดประโยชน์ส่วนรวมเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน
1 กรมสอบสวนคดีพิเศษ
วารสาร 72 DSI