Page 97 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 97

“โรคปลอกประสาทอักเสบ” ภัยร้ายใกล้ตัววัยท�างาน


                                                                                           กองบรรณำธิกำรวำรสำรดีเอสไอ
                       ปัจจุบันมีผู้ป่วยเป็นโรคปลอกประสาทอักเสบ หรือ โรคเอ็มเอส (MS) เป็นจ�านวนมาก และยังไม่ทราบว่าตนเอง

                       ี
                                                                                               ี
                              ื
                                           ี
               เป็นโรคน้ เพราะเน่องจากเป็นโรคท่ยังไม่ทราบสาเหตุท่ชัดเจน และต้องอาศัยการวินิจฉัยจากแพทย์ผู้เช่ยวชาญเท่าน้น
                                                          ี
                                                                                                         ั
                    ี
                  ิ
                                  ี
                                  ้
                                ึ
                                   ่
                                                                                               ี
               อธบดกรมการแพทยจงชวา โรคปลอกประสาทอกเสบ หรือ เอ็มเอส เป็นโรคใกล้ตัวในวัยทางาน โดยเฉพาะผู้ท่มีอายุ 20-40 ปี
                                                                                 �
                                                   ั
                               ์
               พร้อมระบุผู้ป่วยโรคนี้หากเป็นมากจะสูญเสียการเคลื่อนไหวของร่างกาย จนอาจเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาตได้
                       นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า โรคปลอกประสาทอักเสบ (Multiple Sclerosis)
                                                                     ั
                                                                                   ี
               หรือ โรคเอ็มเอส (MS)  เป็นโรคท่เก่ยวกับการทางานของประสาทส่งการ ผู้ป่วยโรคน้จะรู้สึกว่าไม่สามารถควบคุม
                                                      �
                                           ี
                                             ี
                                   ้
                            ่
                ่
                    ่
               สวนตาง ๆ ของรางกายได เนื่องจากการน�าสัญญาณของเส้นประสาทจากสมองส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้เสียไป เกิดจาก
                                                                                     ึ
                                                                                     ่
                                                                               �
                                                                                          ุ
               ปลอกหุ้มเส้นประสาท ภายในระบบประสาทส่วนกลางได้รับความเสียหายหรือถูกทาลาย ซงปัจจบนยงไม่ทราบสาเหต ุ
                                                                                             ั
                                                                                           ั
               ของโรคปลอกประสาทอักเสบ แม้จะมีการน�าเอาทฤษฎีต่าง ๆ มาอธิบายก็ตาม
                       โรคปลอกประสาทอักเสบ หรือ เอ็มเอส เป็นโรคของภูมิต้านตนเอง เนองจากรางกายไมอาจแยกแยะถงความ
                                                                                          ่
                                                                             ื
                                                                                   ่
                                                                                                     ึ
                                                                             ่
                                                                                     ้
               แตกต่างระหว่างเซลล์ของร่างกายกับส่งแปลกปลอมได้ ท�าให้เกดการทาลายเซลล์หรอเนอเยอของตนเองขน รวมท้ง
                                                                                  ื
                                                                                                   ้
                                                                                                   ึ
                                                                                                         ั
                                                                                     ื
                                                                                        ่
                                                                                        ื
                                              ิ
                                                                 ิ
                                                                       �
               เม็ดเลือดขาวชนิดต่าง ๆ ไปทาลายปลอกหุ้มประสาทและเส้นประสาท
                                      �
                       ส�าหรับผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ที่มีอายุน้อย วัยหนุ่มสาว หรือวัยท�างาน คือ ช่วงอายุระหว่าง 20-40 ปี และ
               พบว่า ผู้หญิงเป็นโรคปลอกประสาทอักเสบมากกว่าผู้ชาย  เนื่องจากฮอร์โมนมีความแตกต่างกัน
                        ั
                                ่
                                                                                                 ้
                       ปจจัยเสี่ยงกอใหเกิดโรค แม้ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดวาโรคปลอกประสาทอักเสบเกิดขึ้นไดอยางไร และ
                                                                      ่
                                   ้
                                                                                                   ่
               ปัจจัยเสี่ยงที่ท�าให้เกิดโรค ได้แก่
                       1. พันธุกรรม แม้จะไม่ได้เป็นโรคทางกรรมพันธุ์ แต่ในครอบครัวที่มีประวัติการป่วยก็มีโอกาสเสี่ยงได้
                       2. เชื้อชาติ คนไทยเสี่ยงเป็นโรคนี้ได้น้อยกว่า เมื่อเทียบกับชาวตะวันตก
                       3. เพศ ผู้หญิงเสี่ยงป่วยเป็นโรคนี้สูงกว่าผู้ชายถึง 2 เท่า
                       4. เชื้อไวรัส การติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น เอ็บสไตบาร์ หรือที่เรียกว่า เชื้ออีบีวี (Epstein-Bar Virus: EBV)
               ซึ่งส่งผลต่อภูมิคุ้มกันร่างกายและท�าให้มีอาการต่อมน�้าเหลืองโต
                       5. โรคภูมิคุ้มกันท�าลายตนเอง เช่น โรคเบาหวาน โรคไทรอยด์ และล�าไส้อักเสบ เป็นต้น
                       6. การขาดวิตามิน D มีวิตามิน D ในร่างกายต�่า
                                                 วารสาร 95       DSI
   92   93   94   95   96   97   98   99   100