Page 53 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 53
ุ
ิ
ี
ี
พฤติการณ์ท่คนต่างชาติประกอบธุรกิจฝ่าฝืนและหลีกเล่ยงข้อบังคับของกฎหมายว่าด้วยการประกอบธรกจ
ของคนต่างด้าวมีมากข้น ซ่งก่อนหน้านี้มีคดีพิเศษท่ 36/2556 กรณี บริษัท ฯ ในฐานะนิติบุคคล โดยผู้ต้องหา สัญชาต ิ
ี
ึ
ึ
อิตาเลียน กับพวกรวม 3 คน กระท�าความผิดฐานเป็นคนต่างด้าวประกอบธุรกิจที่คนไทยยังไม่มีความพร้อมที่จะแข่งขัน
้
่
้
ในการประกอบกิจการตามที่ก�าหนดไว้ในบัญชีสาม (21) โดยไมไดรับอนุญาต และความผิดฐานฉอโกงประชาชน เหตุเกิดที่
�
ตาบลห้วยใหญ่ ตาบลนาจอมเทียน อาเภอบางละมุง ตาบลนาจอมเทียน อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และตาบลท่าข้าม
�
�
�
�
�
อ�าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ต่อเนื่องเกี่ยวพันกัน วันเวลาที่เกิดเหตุ ฐานความผิดที่ 1 ระหว่างวันที่ 24 เมษายน
ี
ี
ี
ื
ี
2551 ถึงวันท่ 28 พฤศจิกายน 2553 ต่อเน่องกัน ความผิดฐานท่ 2 ระหว่างวันท่ 29 กรกฎาคม 2554 ถึงวันท่ 9 พฤศจิกายน
ี
ิ
ั
ั
�
ื
ั
2555 ต่อเน่องกัน โดยผู้ต้องหามีพฤติการณ์จดทะเบยนจดตงบรษทจากดรวม 2 บรษท เป็นคนต่างด้าวแต่ใช้ช่อคนไทย
ื
ิ
ั
ั
้
้
เข้าเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทแทนผู้ต้องหาสัญชาติอิตาเลียน และจากการสืบสวนสอบสวนกรณีดังกล่าวพบว่า ผูตองหาซึ่งเปน
็
้
คนตางชาติใชคนไทยเปน “นอมินี” ถือหุนในบริษัททั้ง 2 บริษัท ประกอบธุรกิจมีรายได้จากการประกอบกิจการตามบัญชีสาม
่
็
้
้
(21) ทายพระราชบัญญัติดังกลาว โดยไม่ได้ขออนุญาตต่ออธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแต่อย่างใด เปนการฝาฝนมาตรา 4
็
่
ื
้
่
มาตรา 8 (3) ซึ่งมีโทษตามมาตรา 36 มาตรา 37 และมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
ี
ั
ี
ั
พ.ศ. 2542 พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีความเห็นส่งฟ้องผู้ต้องหาท่ 1, 2 และผู้ต้องหาท่ 3 และมีความเห็นส่งไม่ฟ้อง
ความผิดฐาน ฉ้อโกงประชาชน เนื่องจากพยานหลักฐานอ่อนไม่พอฟ้อง โดยพนักงานอัยการสั่งฟ้องผู้ต้องหาที่ 1, 2 และ
ผตองหาท 3 คดีอยู่ระหว่างพิจารณาของศาลอาญา คดีหมายเลขดาท่ อ 3311/2561 และยงมเลขสบสวนท 182/2558
�
ี
้
้
่
ี
่
ู
ี
ื
ี
ั
ี
และเลขสบสวนท 72/2562 ที่คนต่างด้าวมีพฤติการณ์ท่เข้าข่ายการกระทาความผิดอาญา ตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจ
ี
�
ื
่
ึ
ี
ของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 แต่เป็นกรณีเลขสืบสวนดังกล่าวท่ไม่มีลักษณะเป็นคดีพิเศษตามมาตรา 21 วรรคหน่ง (1)
้
์
(ก) - (จ) และผู้ร้องมิใช่ผู้ร้องขอตามประกาศกรมสอบสวนคดีพิเศษ เรื่องหลักเกณฑและวิธีการในการรองขอ และเสนอให ้
ั
ู
่
่
้
ุ
่
์
ี
กรมสอบสวนคดีพิเศษมีมติให้คดีความผิดทางอาญาใดเป็นพิเศษ พ.ศ. 2547 และไมอยในหลกเกณฑทจะตองเสนออนกรรมการ
ื
กรมสอบสวนคดีพิเศษเพ่อพิจารณา คณะพนกงานสบสวนเห็นควรยุติเร่อง และส่งเร่องให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวง
ื
ื
ื
ั
พาณิชย์ พิจารณาเพื่อด�าเนินการตามอ�านาจหน้าที่ต่อไป
จากการสืบสวนสอบสวนประมวลได้ว่า รูปแบบท่คนต่างชาติต้องการประกอบธุรกิจในราชอาณาจักรไทย
ี
และหลีกเล่ยงข้อบังคับของกฎหมายมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 ส่วนใหญ่
ี
จะด�าเนินการในรูปแบบ
1. จัดตั้งนิติบุคคลในรูป “บริษัทจ�ากัด” หลาย ๆ บริษัท
2. ใช้ชื่อคนสัญชาติไทยส่วนใหญ่จะมีความสัมพันธ์เป็นภรรยาที่ไม่จดทะเบียนสมรสพร้อมเครือญาติ หรือเป็น
พนักงานของบริษัทสับเปลี่ยนกันเข้าออกถือหุ้นแทนคนต่างชาติ ให้จ�านวนหุ้นที่อยู่ในชื่อของคนต่างชาติน้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจ�านวนหุ้นทั้งหมด เช่น หุ้นคนไทย : คนต่างชาติ เท่ากับ 51 : 49
3. ประกอบกิจการตามหนึ่ง บัญชีสอง หรือบัญชีสาม ท้ายพระราชบัญญัติดังกล่าว
4. มีคนตางชาติ หรือ ภรรยาไม่จดทะเบียนสมรสของคนต่างชาติเป็นกรรมการผู้มีอ�านาจ แตอ�านาจการตัดสินใจ
่
่
จะอยู่ที่คนต่างชาติเท่านั้น
5. ไม่ได้ขออนุญาตให้ประกอบกิจการดังกล่าว
จะเหนวาสวนใหญคนตางชาต 1 คน จะจดทะเบียนจัดต้งนิติบุคคลหลาย ๆ นิติบุคคล ใช้คนไทยกลุ่มเดียวกัน
็
่
่
ั
่
ิ
่
ถือหุ้นแทนคนต่างชาติ อีกท้งประกอบกิจการประเภทเดียวกันหรือคล้ายกัน ดังเช่น คดีพิเศษท่ 118/2562 ผู้ต้องหา
ี
ั
คนต่างด้าว 1 คน จัดตั้งบริษัทจ�ากัดถึง 5 บริษัท ส�าหรับคดีพิเศษที่ 36/2556 ผู้ต้องหาคนต่างด้าวเพียงคนเดียวเช่นกัน
จัดตั้งบริษัทจ�ากัดถึง 2 บริษัท ปัจจุบันจะเห็นคนต่างชาติเข้ามาในราชอาณาจักรไทยประกอบธุรกิจฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วย
้
�
ี
ึ
ั
การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวมีจ�านวนเพิ่มมากข้นอย่างทวีคูณซ่งไม่สอดคล้องกับจานวนเจ้าหน้าท่ของรฐดานการ
ึ
ปราบปรามผู้กระท�าความผิดดังกล่าว ท�าให้กระทบต่อการประกอบธุรกิจของคนไทยในวงกว้าง
วารสาร 51 DSI