Page 64 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 64
ข้อควรพิจารณาในการใช้ระบบอากาศยานไร้คนขับ
เพื่อสนับสนุนการสืบสวนสอบสวนคดีพิเศษ
ร้อยต�ารวจเอก ธัชพงศ์ สายโสภา 1
ปัจจุบันเทคโนโลยีระบบอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aircraft Systems) ถูกนาไปประยุกต์ใช้งาน
�
ั
ื
ด้านการพัฒนาประเทศ ท้งในภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคพลเรือน และเพ่อการพาณิชย์ อีกท้งมีแนวโน้มในการนาระบบ
ั
�
่
ิ
ิ
�
ิ
ิ
่
ี
�
ั
อากาศยานไร้คนขับมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ อาท การบนสารวจถายภาพ จดทาแผนท 3 มต งานด้านการเกษตรกรรม
การตรวจสภาวะแวดล้อม เพ่อการช่วยเหลือบรรเทาสาธารณภัยการปราบปรามอาชญากรรม ภารกิจด้านการรักษากฎหมาย
ื
ั
และภารกิจ ด้านมนุษยธรรม ฯลฯ รวมท้งกรมสอบสวนคดีพิเศษมีการน�าระบบอากาศยานไร้คนขับมาใช้ในการสืบสวน
้
้
่
สอบสวนคดีพิเศษ เชน การสืบสวนรวบรวมพยานหลักฐานในคดีการบุกรุกพื้นที่ดินของรัฐ หรือการเฝาตรวจขณะเจาหนาที่
้
ี
่
ั
เข้าทาการตรวจ อย่างไรก็ตามเพ่อให้การใช้งานอากาศยานดงกล่าวถูกต้องตามกฎหมายและระเบยบทเกยวข้อง
ี
�
ื
ี
่
้
ั
้
ื
่
ี
่
ู
้
มีความปลอดภัยและมีการควบคุมให้อยู่ภายใตการดแลของรฐหรอเจาหนาททเก่ยวข้องเช่นเดียวกับหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย
ี
ี
ในต่างประเทศ ผู้เขียนจึงขอสรุปข้อพิจารณาที่กรมสอบสวนคดีพิเศษควรค�านึงถึงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2560 ในการสืบสวนสอบสวนตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ในประเด็นพื้นฐานตามข้อกฎหมายดังต่อไปนี้
�
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยมาตรา 32 กาหนดว่าบุคคลย่อมมีสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว และมาตรา 33
ี
กาหนดว่าบุคคลย่อมมเสรภาพในเคหสถาน การเข้าไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผู้ครอบครอง
�
ี
ี
้
ื
�
ั
ื
่
ี
หรอการคนเคหสถานหรอทรโหฐานจะกระทามได เว้นแต่มีคาส่งหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอ่นตามท่กฎหมายบัญญัต ิ
ื
้
ิ
�
ู
่
�
้
ิ
ั
2. ประมวลกฎหมายอาญาอันเก่ยวกับความผิดในการบุกรุกตามมาตรา 362 กาหนดวาผใดเขาไปในอสงหารมทรพย ์
้
ั
ี
ของผู้อื่นเพื่อถือการครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นทั้งหมดหรือแต่บางส่วนหรือเข้าไปกระท�าการใด ๆ อันเป็นการรบกวน
ั
ิ
�
ั
ึ
ิ
การครอบครองอสงหารมทรพย์ของเขาโดยปกตสข ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่งปีหรือปรับไม่เกินสองพันบาท
ุ
ี
ั
�
หรือท้งจาท้งปรับหรือมาตรา 364 ซงกาหนดว่าผ้ใดโดยไม่มเหตอนสมควรเข้าไปหรือซ่อนตัวอยู่ในเคหสถานอาคาร
ึ
่
�
ู
ั
ุ
ั
เก็บรักษาทรัพย์หรือส�านักงานในความครอบครองของผู้อื่น หรือไม่ยอมออกไปจากสถานที่เช่นว่านั้น เมื่อผู้มีสิทธิ์ที่จะห้าม
ไม่ให้เข้าไปได้ไล่ให้ออกต้องระวางโทษจ�าคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองพันบาทหรือทั้งจ�าทั้งปรับ
3. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ก�าหนดเรื่องความรับผิดเพื่อละเมิดไว้ตามมาตรา 420 ซึ่งได้ก�าหนดว่า
ผ้ใดจงใจหรอประมาทเลนเล่อ ทาต่อบุคคลอ่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดีแก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ด ี
ื
ื
ิ
�
ู
�
�
ึ
เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหน่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้น กระทาละเมิดจาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
ึ
ี
อันเป็นกฎหมายท่สามารถตีความหมายอย่างกว้างขวางหากมความเสียหายเกิดข้นและตามประมวลกฎหมายแพ่ง
ี
และพาณิชย์มาตรา 1355 ได้ก�าหนดว่า ได้แบ่งกรรมสิทธิ์ที่ดินนั้นกินทั้งเหนือพื้นดินและใต้พื้นดินด้วย ดังนั้น การเข้าไป
ื
ในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อ่นทางอากาศ โดยเป็นการรบกวนสิทธ์โดยไม่ได้รับอนุญาตจึงกระทามิได้
ิ
�
1 ผู้อ�านวยการส่วนวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์พิเศษ กองเทคโนโลยีและศูนย์ข้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพิเศษ
วารสาร 62 DSI