Page 69 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 69
ลักษณะและความแตกต่างของเครื่องหมายการค้า สิทธิบัตร และลิขสิทธิ์
์
เครื่องหมายการค้าเป็นทรัพยสินทางปัญญาประเภทหนึ่งที่มีความส�าคัญและก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เป็นเจ้าของ
ี
ื
็
่
ิ
ื
เปนอยางมาก เพราะเป็นส่งท่แสดงถึงความมีช่อเสียง ความมีคุณภาพของสินค้าหรือบริการภายใต้เคร่องหมายการค้า
ั
ื
ุ
ั
�
ื
ั
เคร่องหมายบริการน้น ๆ อย่างไรก็ตาม ลกษณะของขอบเขตการค้มครองทางกฎหมายสาหรับเคร่องหมายการค้าน้น
็
้
ผูเขียนมีความเห็นเปนสวนตัววา มีลักษณะที่แตกต่างไปจากกรณีของสิทธิบัตรและลิขสิทธิ์ กล่าวคือ ในกรณีของสิทธิบัตร
่
่
เป็นเร่องของการไปละเมิดสิทธิบัตร หากเป็นการไปต่อยอด มีความแตกต่างไป ก็อาจขอสิทธิบัตรได้ กรณีของลิขสิทธ ์ ิ
ื
ื
ั
จะคุ้มครองอยู่ในส่วนของการทาซา ดัดแปลง แต่กรณีของเคร่องหมายการค้าน้น เป็นลักษณะเปิดโอกาสให้มีความ
�
้
�
เกี่ยวข้องใกล้เคียงได้มากกว่าทรัพย์สินทางปัญญาประเภทอื่น เรียกไดวามีโอกาสอางอิง แอบอิง แสวงสิทธิในความเด่นดัง
่
้
้
ความมีชื่อเสียงของเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นได้ค่อนข้างมาก ตราบใดที่ไม่รุกล�้าก�้าเกินขอบเขตที่กฎหมายบัญญัติไว เชน
้
่
้
ู
�
การลวงขาย การลวงสาธารณชน การทาให้เกิดความสับสนหลงผิดในความเป็นเจ้าของ กล่าวง่าย ๆ ไดแบบภาษาพดวา
่
้
็
ใกล้เคียงได้ แอบอิงได้ แต่ไม่ใช่ถึงขนาดอาศัยโดยสารฟรีไปด้วย หากถึงเพียงนั้นก็เปนการละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการคา
�
ื
ื
ี
ั
ั
ิ
ของผู้อ่น ในทางหลักการท่วไป ยอมรับกันว่า หลายส่งหลายอย่างท่นามาประกอบเป็นเคร่องหมายการค้าน้น แม้จะ
ั
ื
ื
ได้รับการจดทะเบียนเคร่องหมายการค้าก็ไม่ได้หมายความว่ามีการยอมให้ผูกขาดส่งน้น ๆ หรอหวงกนไมใหผอืนเขามา
ิ
้
่
่
ั
้
ู
้
เกี่ยวข้องใช้สอย เช่น รูปสัตว์ ตัวหนังสือ ตัวเลข ข้อความทั่วไป แต่เมื่อมีชื่อเสียงมากขึ้น เจ้าของเครื่องหมายการค้านั้น
อาจเกิดความไม่พอใจ หากจะมีเครื่องหมายการค้าอื่นที่มีลักษณะใกล้เคียงเริ่มมีความเกี่ยวข้องหรือรุกล�้าพรมแดนเข้ามา
ทาให้เกิดปัญหาการฟ้องร้องเกิดข้น ดังน้น ในการวินิจฉัยจึงต้องพิจารณาข้อเท็จจริงต่าง ๆ หลายส่วนประกอบกัน
�
ั
ึ
บนพื้นฐานแห่งพยานหลักฐานที่คู่ความน�าสืบ คือ
1. รูปลักษณะของเครื่องหมายการค้าเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกัน มีความแตกต่างกันหรือไม่ เห็นได้ชัดมากน้อย
ื
้
่
็
�
่
ื
ั
เพียงใด ส่วนประกอบใดเป็นสาระสาคัญ เปนเครองหมายการคาทเหมอนกนหรือแตกต่างกัน หากแตกต่างกันเป็นการแตกต่าง
ี
ในส่วนสาระส�าคัญหรือไม่
2. เปรียบเทียบเสียงเรียกขาน เรียกขานเหมือนกันหรือไม่
ี
3. ประเภทของสินค้าท่มีการจดทะเบียนเคร่องหมายการค้า ใช้กบสนค้าประเภทเดยวกนหรอใกล้เคยงกนหรอไม่
ื
ั
ั
ื
ี
ิ
ั
ื
ี
มีโอกาสเกิดความเข้าใจผิดในกลุ่มผู้ใช้สินค้าหรือไม่
4. กลุ่มของผู้ใช้สินค้าเป็นคนละกลุ่มกันหรือไม่ มีโอกาสสับสนหลงผิดในความเป็นเจ้าของสินค้าหรือไม่
5. ข้อพิจารณาอื่น ๆ เช่น จุดจ�าหน่ายสินค้า การจัดวางสินค้า มีความใกล้เคียงกันหรือไม่ ลักษณะของต�าแหน่ง
ที่ติดเครื่องหมายการค้า สีของฉลากหรือเอกสารโฆษณาสินค้า เป็นต้น 2
2 หมำยเหตุ ท้ำยค�ำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 3246/2550
วารสาร 67 DSI