Page 65 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 65
ดังนั้น การใช้ระบบอากาศยานไร้คนขับในการสอบสวนคดีพิเศษจึงควรมีข้อพิจารณา ดังนี้
1. การใช้ระบบอากาศยานไร้คนขับเพื่อสนับสนุนการสืบสวนสอบสวนคดีพิเศษทุกกรณีควรจะต้องได้รับอนุญาต
้
้
่
้
้
จากศาล เนื่องจากการกระท�าดังกล่าวเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลซึ่งกฎหมายก�าหนดหามไว แตควรมีขอยกเวน
ิ
ั
ี
ื
�
หากเป็นกรณีการปฏิบัตหน้าท่เพ่อรักษาความสงบเรียบร้อยการป้องกันภัยแก่สงคมโดยรวม สามารถกระทาได้
�
ี
โดยไม่จาเป็นต้องได้รับอนุญาตจากศาล เช่น การก่อการร้าย การใช้ดับเพลิงในอาคารสูง นอกจากน้พยานหลักฐาน
้
ท่ได้มาสามารถนาไปใช้ในการพิจารณาคดีของศาลได้โดยถือว่าชอบด้วยกฎหมาย อนเปนขอยกเวนในการตรากฎหมาย
้
ี
�
็
ั
ที่เป็นการจ�ากัดสิทธิของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ (โดยบัญญัติไว้ในตอนต้นกฎหมายนั้น) จึงท�าให้พยานหลักฐานที่ได้
่
่
จากการสืบสวนรวบรวมมานั้น ถือว่าได้มาโดยชอบด้วยกฎหมาย รับฟังได้ มีน�้าหนักนาเชื่อถือ ไมเสียไป และหากจะเสียไป
ั
ก็ให้ถือว่าเสียไปเฉพาะส่วน ไม่เสียไปท้งหมด
ื
้
ุ
้
�
2. การอนญาตใชหวงอากาศ จากสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยเพ่อให้เป็นไปตามหลักความปลอดภัย
สากลในการเดินอากาศตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบบท 18) พ.ศ.2562 ทงน เนองจากการใช้งานระบบ
ี
ั
ั
้
่
ี
ื
่
้
ื
้
ี
ิ
อากาศยานไร้คนขับในบางพ้นท่อาจจะก่อเกิดอันตรายต่อการเดินอากาศของอากาศยานทมเสนทางปกตได เชน ใกลบรเวณ
่
ิ
ี
ี
้
้
่
�
�
ั
สนามบิน หรือสถานท่ราชการท่เก่ยวกับความม่นคงของชาติ เป็นต้น ดังนั้น จึงจาเป็นต้องได้รับอนุญาตจากสานักงาน
ี
ี
ี
การบนพลเรอนแห่งประเทศไทย หรือหน่วยงานอ่นท่เก่ยวข้อง (หากมี) โดยเคร่งครัด เพ่อขอประสานตารางการบิน
ื
ิ
ื
ี
ื
ี
ี
่
�
ของการใช้ระบบอากาศยานไร้คนขับตามท่กฎหมายกาหนด ในกรณทต้องปฏบตนอกจาก “หลักเกณฑ์การขออนญาต
ี
ิ
ิ
ุ
ั
ี
่
ั
ึ
ึ
ื
และเง่อนไขในการบังคับหรือปล่อยอากาศยานซ่งไม่มีนักบิน ประเภทอากาศยานซ่งควบคุมการบนจากภายนอก” ซงบงคบใช ้
ิ
ั
ึ
กับผู้ที่ใช้อากาศยานไร้นักบิน
ึ
ิ
�
ึ
ิ
ุ
ื
3. การคานงถงการละเมดสทธส่วนบคคล เน่องจากการใช้งานระบบอากาศยานไร้คนขับในการเก็บรวบรวม
ิ
ข้อมูลที่ได้มาบางครั้งอาจเกินไปจากข้อมูลที่จะใช้ประโยชน์ในทางคดี หากน�าข้อมูลที่ได้มาทั้งหมดไปใช้โดยไมสงวนขอมูล
่
้
้
่
สวนที่ไดมาและเกินขอบเขตของคดี อาจท�าให้กระทบกระเทือนสิทธิส่วนบุคคล ถือเป็นความส�าคัญมากและเป็นหลักปฏิบัติ
พ้นฐานของหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายในต่างประเทศยึดถือปฏิบัติดังกรณีตัวอย่าง ในประเทศสหรัฐอเมริกาท่ศาล
ื
ี
พพากษาว่าการใช้อากาศยานไร้คนขับของเจ้าหน้าท่ตารวจในการรวบรวมพยานหลักฐานโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล
ิ
�
ี
ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิสิทธิส่วนบุคคล
ี
ี
ั
�
4. การนาไปใช้เป็นพยานหลักฐานในช้นศาล เนองจากในขณะนยงไม่ปรากฏว่ามีคาพิพากษาฎีกาเก่ยวกับ
่
�
ั
ื
้
ั
การใช้ข้อมูลท่ได้จากระบบอากาศยานไร้คนขับออกมาเป็นบรรทัดฐาน ดังน้น อาจจะเป็นประเด็นท่ต้องมีการพิจารณา
ี
ี
อย่างรอบคอบ หากในอนาคตผู้ต้องหาหรือจ�าเลยน�ามาใช้เป็นข้อต่อสู้ทางคดีเกี่ยวกับการได้มา การรับฟังพยานหลักฐาน
้
้
เนื่องจากขอมูลที่ไดมาจากการใช้ระบบอากาศยานไร้คนขับ ยังไม่มีหน่วยงานใดที่รับผิดชอบรับรองความถูกต้องของข้อมูล
ั
�
ท่ใช้อ้างเป็นพยานหลักฐานดังกล่าว ดังน้น จึงจาเป็นจะต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลท่ได้จากระบบอากาศยาน
ี
ี
ไร้คนขับโดยวิศวกรรมส�ารวจจากผู้เชี่ยวชาญหรือหน่วยราชการซึ่งมีอ�านาจหน้าที่รักษามาตรฐานทางการส�ารวจ รวมทั้ง
ื
การเชิญผู้เช่ยวชาญด้านการเก็บข้อมูลโดยใช้ระบบอากาศยานไร้คนขับข้นให้การในช้นศาล เพ่อยืนยันความน่าเช่อถือ
ึ
ื
ี
ั
ี
ี
ของข้อมูลดังกล่าว ในฐานะพยานผู้เช่ยวชาญท่ใช้ในการประกอบการพิจารณาคดี มิฉะน้น จะเท่ากับใช้ในการสืบสวน
ั
ื
จับตัวคนร้ายได้ แต่ใช้เป็นพยานหลักฐานในช้นศาลไม่ได้ เช่น การดักฟังโทรศัพท์หรือเคร่องมือส่อสารอ่น
ื
ื
ั
วารสาร 63 DSI