Page 70 - วารสาร DSI ฉบับ EBook เล่ม1
P. 70
่
แตเนื่องจากพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 ไม่ได้บัญญัติเกี่ยวกับอ�านาจการสอบสวนคดีพิเศษ
้
่
ของพนักงานสอบสวนคดีพิเศษไวโดยตรง แต่ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 23 วรรคแรก วา ในการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับคดีพิเศษ
ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอ�านาจสืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษ และเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ารวจชั้นผู้ใหญ่
ื
หรอพนกงานสอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แล้วแต่กรณี ดังน้นในการสอบสวนของพนักงาน
ั
ั
สอบสวนคดีพิเศษ จึงต้องน�าบทบัญญัติเกี่ยวกับสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใช้ ตั้งแต่มาตรา
ั
ึ
ั
ิ
ั
120 ถงมาตรา 156 ตลอดจนบทบญญตตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาท้งฉบับมาใช้ในการสืบสวนสอบสวน
ี
�
คดีพิเศษร่วมกับพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 และท่แก้ไขเพ่มเติม ผู้เขียนจึงได้ศึกษาและทาความเข้าใจ
ิ
หลักกฎหมายดังกล่าว จึงสรุปเป็นแนวทางในการพัฒนางานสอบสวนคดีพิเศษเก่ยวกับกฎหมายเคร่องหมายการค้า
ี
ื
ของพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ดังน ้ ี
�
�
�
1. การสอบสวนดาเนินคดีพิเศษ จะต้องทาการสอบสวนดาเนินคดีโดยไม่ล่าช้า และทาให้ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา
�
ี
ี
�
ิ
ั
หรือจาเลย ได้รับการปฏิบัติไม่เท่าเทียมกันและไม่สามารถต่อสู้คดีได้อย่างเต็มท่ โดยพนกงานสอบสวนคดพเศษจะต้องจัดหา
ิ
ี
�
ลามใหแกผเสยหาย ผู้ต้องหา จาเลย หรือพยาน ท่ไม่สามารถพูดหรือเข้าใจภาษาไทยและไม่มีล่าม พนกงานสอบสวนคดพเศษ
ี
ู
่
้
้
ั
่
ี
จะต้องใช้ระยะเวลาควบคุมตัวผู้ถูกจับในกรณีที่มีเหตุจ�าเป็นเท่านั้น อีกทั้งพนักงานสอบสวนคดีพิเศษควรใช้อ�านาจร้องขอ
ิ
�
ี
ี
่
ี
ั
ี
ั
ต่อศาล ให้ส่งขังผู้ต้องหาไว้ ณ สถานททพนกงานสอบสวนคดพเศษกาหนดตามระยะเวลาท่ศาลเห็นสมควรและตามระยะเวลา
่
จ�าเป็นเท่านั้น ทั้งนี้ เพื่อให้การสอบสวนด�าเนินคดีลุล่วงไปโดยรวดเร็ว และเพื่อให้ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา และจ�าเลย ได้รับ
ความช่วยเหลือทางกฎหมายโดยเท่าเทียมกันและจาเลยได้มีโอกาสต่อสู้คดีอย่างเต็มท ่ ี
�
2. เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้บัญญัติรับรอง
และคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกจับ ผู้ต้องหา และจ�าเลยในคดีไว้หลายประการ อาทิเช่น การจับกุมหรือคุมขังบุคคลและการค้น
ในที่รโหฐานจะกระท�ามิได้ เว้นแต่มีค�าสั่งหรือหมายของศาล หรือมีเหตุจ�าเป็นอื่น ๆ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และผู้ต้องหา
ื
�
ั
และจาเลยย่อมมีสิทธิได้รับการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีด้วยความรวดเร็ว ต่อเน่อง และเป็นธรรม รวมท้งมีสิทธ ิ
�
ั
่
ไดรบความชวยเหลอจากรฐดวยการจัดหาทนายความให้ ดังน้น พนักงานสอบสวนคดีพิเศษจึงจาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจ
้
ื
ั
้
ั
และปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าวเพื่อให้การสอบสวนด�าเนินคดีลุล่วงไปโดยรวดเร็ว และเพื่อให้ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา และ
จ�าเลย ได้รับความช่วยเหลือทางกฎหมายโดยเท่าเทียมกัน และจ�าเลยได้มีโอกาสต่อสู้คดีอย่างเต็มที่
วารสาร 68 DSI